ขนาดความรุนแรงในการปะทุของดวงอาทิตย์ ในรอบวัฎจักรสุริยะที่ 24 เริ่มจากปี 2553 เรียงจากความรุนแรงมาก ไปหาความรุนแรงน้อย
ความรุนแรง |
วัน – เดือน |
ปี |
หมายเลขจุดดับ |
X6.9 |
9 สิงหาคม |
2554 |
1263 |
X5.4 |
7 มีนาคม |
2555 |
1429 |
X2.2 |
15 กุมภาพันธ์ |
2554 |
1158 |
X2.1 |
6 กันยายน |
2554 |
1283 |
X1.9 |
3 พฤศจิกายน |
2554 |
1339 |
X1.9 |
24 กันยายน |
2554 |
1302 |
X1.8 |
7 กันยายน |
2554 |
1283 |
X1.8 |
23 ตุลาคม |
2555 |
1598 |
X1.7 |
27 มกราคม |
2555 |
1402 |
X1.5 |
9 มีนาคม |
2554 |
1166 |
X1.4 |
12 กรกฏาคม |
2555 |
1520 |
X1.4 |
22 กันยายน |
2554 |
1302 |
X1.3 |
7 มีนาคม |
2555 |
1429 |
X1.1 |
6 กรกฏาคม |
2555 |
1515 |
X1.1 |
4 มีนาคม |
2555 |
1429 |
M9.3 |
4 สิงหาคม |
2554 |
1261 |
M9.3 |
30 กรกฏาคม |
2554 |
1260 |
M9.0 |
20 ตุลาคม |
2555 |
1598 |
M8.7 |
23 มกราคม |
2555 |
1402 |
เมื่อมีการปะทุ ยานอวกาศ GOES หมายเลข 12-15 ของ NASA จะวัดค่า X-Ray ที่ออกมา เนื่องจากเดินทางด้วยความเร็วแสง จึงเดินทางมาถึงโลกก่อนอนุภาคอื่น
โดยความรุนแรงของการปะทุ เราเรียงจากระดับแรงไปเบาคือ X,M,C,B,A โดยแต่ละระดับยังแยกความแรงเป็น 9 ชั้น คือ X9.9 แรงสุด X1.0 เบาสุดในชั้น X รองมาคือชั้น M เริ่มจาก M9.9 ไล่ลงไป
การปะทุอาจก่อให้เกิด 1.พายุสุริยะ 2.มวลพลาสมาร้อน CME หรือทั้ง 2 อย่าง หรือ ไม่เกิดอะไรเลย